// Sync response from Native Moduleconst value = nativeModule.getValue(); // value can be a reference to a native objectnativeModule.doSomething(value); สุดท้าย ไม่เกี่ยวสักเท่าไหร่แต่มีข่าวว่าพนักงาน full-time ของ Flutter ถูกเลิกจ้าง แม้ Google จะยืนยันว่าไม่ทิ้ง Flutter แต่ก็มีนักพัฒนาแยกออกมาทำโครงการ Flock (fork of Flutter) มารวมตัวกันสร้างเป็น Flutter+ อนาคตของ Flutter จะเป็นอย่างไรก็ต้องรอดูกันต่อไปนะครับ เรียน React Native กับโค้ชเอก ดูที่นี่ครับ https://codingthailand.com/react_native_2024_live/ โค้ชเอก Views: 16106
Month: November 2024
8 ข้อน่ารู้เกี่ยวกับ Drizzle ORM
แบบ relational (Queries API) const users = await db.query.users.findMany(); แบบ SQL-like const result = await db.select().from(users); Views: 718
8 เหตุผล ทำไมควรเรียน NestJS
NestJS เป็นเฟรมเวิร์กสำหรับพัฒนา Web App ทางฝั่งเซิร์ฟเวอร์ (Node.js framework) นิยมพัฒนาเป็น RESTful API (Backend) และเขียนด้วย TypeScript ครับ แล้วทำไมเราต้องเรียน NestJS ด้วย มีเหตุผลดังนี้ครับ 1. การออกแบบเชิงโมดูล (Modular Architecture) NestJS ใช้การออกแบบเชิงโมดูล ทำให้โค้ดมีโครงสร้างที่ชัดเจน สามารถแบ่งเป็นโมดูลย่อย ๆ ง่ายต่อการพัฒนา แก้ไข หรือเพิ่มฟีเจอร์ใหม่ แน่นอนเหมาะมากสำหรับทำงานเป็นทีมครับ 2. รองรับ TypeScript เต็มรูปแบบ NestJS นั้นเขียนด้วย TypeScript แน่นอนช่วยลดข้อผิดพลาดในการเขียนโค้ด และการตรวจจับข้อผิดพลาดต่างๆทำได้ง่ายขึ้น 3. เหมาะสำหรับการสร้าง Web App ขนาดใหญ่ NestJS ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับ Web App ขนาดใหญ่ที่ต้องการโครงสร้างที่แข็งแกร่งและยืดหยุ่น…