Skip to content
CodingThailand's Blog
CodingThailand's Blog

by โค้ชเอก

  • Home
  • About Me
  • CodingThailand.com
CodingThailand's Blog

by โค้ชเอก

4 ขั้นตอน การแทรก Google reCAPTCHA และใช้งานร่วมกับ PHP

25/05/201625/05/2016

re

ขั้นตอนการแทรก Google reCAPTCHA เพื่อป้องกัน robot และ spam ให้กับฟอร์มในเว็บไซต์

  1. ล็อกอินเพื่อรับ API Key ก่อน ที่ http://www.google.com/recaptcha/admin
  2. เสร็จแล้วให้กรอก Label และ Domains ของเราเอง ดังรูป
    2016-05-25_10-45-42
  3. เราจะได้ Site key และ Secret key มา ดังรูป
    2016-05-25_10-48-59
    ต่อมา จากภาพ (หมายเลข 1) ให้ copy โค้ดส่วนนี้ ไปวางไว้ในส่วน <head> ของ html  และ (หมายเลข 2) ให้ copy โค้ดส่วนนี้ไปวางไว้ฟอร์ม <form> ที่ต้องการครับ

    หมายเหตุ สำหรับคนที่อยากแสดงผลภาษาไทย ให้แก้โค้ดหมายเลข 1 ดังนี้

    <script src='https://www.google.com/recaptcha/api.js?hl=th'></script>

    แค่นี้ฝั่ง client-side ก็เรียบร้อยแล้วครับ

  4. ต่อมาฝั่ง php เราจะต้องติดตั้ง reCAPTCHA PHP client library ครับ รายละเอียดตามนี้
    https://github.com/google/recaptcha (ไม่เข้าใจตรงนี้ถามได้ครับ) เมื่อติดตั้งเรียบร้อยให้เขียนโค้ดฝั่ง php ดังนี้

    $secret = 'ตรงนี้ให้ copy  Secret key จากภาพข้อ 3 มาวาง';
    			
    $recaptcha = new \ReCaptcha\ReCaptcha($secret);
    
    $resp = $recaptcha->verify($_POST['g-recaptcha-response'], $_SERVER['REMOTE_ADDR']);
    		
    if ($resp->isSuccess()) {
     //ถ้า captcha ถูกต้องทำต่อตรงนี้ จะบันทึกฟอร์มอะไรก็ว่าไปครับ
    
    else {
      $errors = "ลงทะเบียนไม่สำเร็จ กรุณาคลิกยืนยันว่าคุณไม่ใช่ robot!!";
      echo $errors;
    }

แค่นี้ก็เสร็จเรียบร้อยครับ สำหรับการแทรก Google reCAPTCHA กับภาษา PHP ไว้พบกันอีกในโอกาสต่อไป

Views: 20316

PHP recaptcha

Post navigation

Previous post
Next post

Leave a Reply Cancel reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.

Posts ล่าสุด

  • การใช้งาน Prefetching ใน Next.js
  • 14 ข้อคิด เพื่อการเป็น Developer ที่ดีขึ้น จาก “Lee Robinson”
  • เคยเจอ “TypeError: Cannot read property ‘x’ of undefined” หรือเปล่า
  • บันทึกการเขียนเว็บไซต์ใหม่ในรอบ 10 ปี ย้ายมาใช้ Next.js
  • ทำไมการจัดการ Error ใน JavaScript ถึงเป็นเรื่องท้าทาย?

Recent Comments

    หมวดหมู่

    • .NET
    • AI
    • Android
    • Angular
    • Angular 2
    • Coding
    • CSS
    • Database
    • Editor
    • Flutter
    • Git
    • HTML5
    • Ionic 2
    • Ionic 4
    • Ionic Framwork
    • JavaScript
    • Laravel
    • Laravel 5
    • Next.js
    • Node.js
    • PHP
    • PHP 7
    • Plugins
    • React
    • React Native
    • Template
    • Tools
    • TypeScript
    • UI
    • Uncategorized
    • Vue.js
    • XAMPP
    • Yii
    • คอร์สเรียน
    • แรงบันดาลใจ

    Archives

    • July 2025
    • April 2025
    • November 2024
    • October 2024
    • April 2020
    • February 2020
    • August 2019
    • September 2018
    • August 2018
    • February 2018
    • November 2017
    • October 2017
    • August 2017
    • July 2017
    • April 2017
    • October 2016
    • August 2016
    • May 2016

    Tags

    .NET android Angular Angular 2 Atom Coding Coding Standard CSS CSS 3 Datepicker Express.js extensions Git HTML HTML5 Ionic2 JavaScript Laravel5 laravel 5.5 MariaDB Material Design MySQL Node.js npm PHP PHP7 plugins PouchDB recaptcha Restful sail.js template typescript typscript XAMPP Yii2

    ผู้เยี่ยมชม

    • 0
    • 1,818,181
    • 547,566
    • 20,316
    ©2025 CodingThailand's Blog | WordPress Theme by SuperbThemes